“วันอีสเตอร์ (Easter) ” ถือเป็นวันสำคัญวันหนึ่งของผู้นับถือศาสนาคริสต์ ที่มีการเฉลิมฉลองกันทั่วประเทศ โดยเฉพาะในอินเดียแม้ว่าจะมีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ แต่ก็ให้ความสำคัญและให้เกียรติแก่ทุกศาสนา แม้ว่าชาวคริสต์ในอินเดียมีแค่ 2.5 เปอร์เซนต์ของประชากรทั้งประเทศก็ตาม การเฉลิมฉลองเทศกาลอีสเตอร์ (Easter) ก็มีขึ้นในหลายๆ พื้นที่ โดยเฉพาะที่เมืองมุมไบ กัว และรัฐทางตอนเหนือของอินเดีย ที่มีผู้นับถือศาสนาคริสต์จำนวนมาก
รวมเนื้อหาทุกเรื่องเกี่ยวกับอินเดีย เพื่อการศึกษา เรียนรู้ และสัมผัสอินเดียในทุกๆ ด้าน
วันอาทิตย์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2556
วันอีสเตอร์ (Easter!) ในอินเดีย
“วันอีสเตอร์ (Easter) ” ถือเป็นวันสำคัญวันหนึ่งของผู้นับถือศาสนาคริสต์ ที่มีการเฉลิมฉลองกันทั่วประเทศ โดยเฉพาะในอินเดียแม้ว่าจะมีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ แต่ก็ให้ความสำคัญและให้เกียรติแก่ทุกศาสนา แม้ว่าชาวคริสต์ในอินเดียมีแค่ 2.5 เปอร์เซนต์ของประชากรทั้งประเทศก็ตาม การเฉลิมฉลองเทศกาลอีสเตอร์ (Easter) ก็มีขึ้นในหลายๆ พื้นที่ โดยเฉพาะที่เมืองมุมไบ กัว และรัฐทางตอนเหนือของอินเดีย ที่มีผู้นับถือศาสนาคริสต์จำนวนมาก
ป้ายกำกับ:
เทศกาลอินเดีย,
วันสำคัญของอินเดีย,
ศาสนาคริสต์
วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2556
Good Friday วันศุกร์ประเสริฐในอินเดีย
Good Friday หรือ วันศุกร์ประเสริฐ เป็นวันที่มีความสำคัญมากวันหนึ่งตามปฏิทินของชาวคริสต์ทั่วโลก เป็นการระลึกถึงความเจ็บปวดทุกข์ทรมาน ความเสียสละ และการอุทิศพระองค์ของพระเยซู ที่ทรงถูกตรึงบนไม้กางเขนจนสิ้นพระชนม์ในวันศุกร์ ชาวคริสต์จึงเรียกวันศุกร์นั้นว่า Good Friday (บ้างก็เรียก Holy Friday, Great Friday หรือ Black Friday) และในอินเดียก็ถือเป็นวันหยุดราชการทั่วประเทศอีกด้วย
ป้ายกำกับ:
เทศกาลอินเดีย,
วันสำคัญของอินเดีย,
ศาสนาคริสต์
วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556
คมวาทะ มหาตมะ คานธี (1)
มหาตมะ คานธี (Mahatma Gandhi 1869 – 1948) ผู้นำทางการเมืองและจิตวิญญาณของอินเดีย บุรุษผู้ได้รับการเคารพนับถือว่าเป็นสัญลักษณ์แห่งอิสรภาพของอินเดีย ชาวอินเดียขนานนามท่านว่าเป็น “มหาตมะ” (Mahatma) หรือ”จิตวิญญาณที่ยิ่งใหญ่” (the Great Soul) ท่านเกิดเมื่อ 2 ตุลาคม 1869 และถูกลอบสังหารเสียชีวิต เมื่อ 30 มกราคม 1948 เหลือทิ้งไว้แต่เพียงมรดกทางความคิด เพื่อเป็นอนุสรณ์เตือนใจแก่อนุชนคนรุ่นหลังต่อไป
ป้ายกำกับ:
คมวาทะ,
บุคคล,
ปราชญ์อินเดีย,
ผู้นำอินเดีย
วันอาทิตย์ที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2556
อัศจรรย์ของเสียจากวัว สร้างผลิตภัณฑ์ได้หลากชนิด
สำหรับคนที่นับถือศาสนาฮินดู “วัว” ถือได้ว่าเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ที่ได้รับความเคารพนับถือมาแต่อดีต เนื่องเพราะเป็นพาหนะของเทพเจ้าองค์สำคัญ คือ พระศิวะ วัวจึงได้รับสิทธิพิเศษสามารถเดินเหินและนอนได้อย่างอิสระบนท้องถนนและในที่สาธารณะทั่วไปในอินเดีย ชาวฮินดูจะไม่ทำร้ายวัวรวมทั้งไม่รับประทานเนื้อวัวด้วย แต่ในทางกลับกัน กลับนำของเสียที่ปล่อยทิ้งจากวัวที่มีจำนวนมากมายมาคิดค้นใช้ประโยชน์กันหลากหลายรูปแบบ เพราะถือว่าเป็นของดีและบริสุทธิ์จากพระเจ้า
ป้ายกำกับ:
ความรู้ทั่วไป,
ผลิตภัณฑ์อินเดีย,
สัตว์อินเีดีย
วันศุกร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556
Main Building สถาปัตยกรรมอันโอ่อ่าของมหาวิทยาลัยปูเณ่
มหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาเก่าแก่ในอินเดียหลายแห่ง ต่างก็มี Main Building ของตนที่เรียกได้ว่าเป็นหน้าเป็นตาของแต่ละมหาวิทยาลัยเลยทีเดียว เพราะโดยมากมักจะเป็นตึกทำการของรัฐหรือทำเนียบที่พักของผู้ปกครองในยุคที่อินเดียอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษมาก่อน ตึกเก่าแก่เหล่านี้จึงมีอายุมากกว่า 100 ปีขึ้นไป อย่าง Main Building ของมหาวิทยาลัยปูเณ่ก็มีอายุถึง 146 ปีมาแล้ว
ป้ายกำกับ:
มหาวิทยาลัยในอินเดีย,
เมืองปูเณ่,
สถาบันการศึกษา,
แหล่งท่องเที่ยว
วันพฤหัสบดีที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2556
กฏเกณฑ์ใหม่ การแนบเอกสารการจองโรงแรมและตั๋วเครื่องบิน เพื่อขอวีซ่าเข้าอินเดียทุกประเภท
ป้ายกำกับ:
การเดินทางไปอินเดีย,
ความรู้ทั่วไป,
วีซ่าอินเดีย,
Visa to India
วันพุธที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2556
อาหารอินเดีย – ไก่แทนดอรี (Tandoori Chicken)
ไก่แทนดอรี (Tandoori Chicken) หนึ่งในเมนูอาหารรสเลิศของอินเดีย ที่ Non-veg อย่างพวกเราชอบทานกันนัก ก็มันทั้งกรอบนอก และนุ่มเนื้อข้างใน รสชาติออกเผ็ดร้อนไปนิดด้วยมัสซาลาและเครื่องปรุงรสต่างๆ มากมาย แถมสีสันออกแดงจัดไปหน่อย แต่อร่อยเหาะน่าดู มีขายตามร้านอาหารทั่วไปหลายที่ ให้สังเกตหน้าร้านค้าที่มีไก่แดงๆ เสียบเหล็กแขวนเรียงรายไว้ข้างหน้านั่นแหล่ะของแท้ล่ะ สนนราคาก็พอสมควร ถ้าทั้งตัวก็ตกราว 170 รูปี ส่วนครึงตัวก็ 85 รูปี
วันจันทร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2556
เรียนฮินดี – คำทักทายที่ใช้ทั่วไป
“นมัสเต อาฟแกเซแฮ?” สวัสดี คุณสบายดีหรือเปล่า? ”แมทีกฮูม อาฟสุนายเย” ฉันสบายดี แล้วคุณล่ะ? ขอทักทายขึ้นต้นด้วยภาษาฮินดีซะหน่อย ด้วยประโยคยอดนิยมที่ทุกชาติทุกภาษามักใช้กัน แต่ว่าภาษาฮินดีเขาใช้แยกระหว่างชายและหญิง ศัพท์บางตัวจึงออกเสียงแตกต่างกันตามเพศด้วย แต่ก็คงไม่ยากที่จะจดจำเกินไปนัก วันนี้เรามีวีดิโอคำทักทายทั่วไปที่ใช้ในภาษาฮินดีมาฝากกัน เชิญชมได้เลยค่ะ
วันอาทิตย์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2556
อินเดียยกเลิก การเว้นระยะเดินทางเข้าอินเดีย 2 เดือน
ป้ายกำกับ:
การเดินทางไปอินเดีย,
ความรู้ทั่วไป,
วีซ่าอินเดีย,
Visa to India
วันเสาร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2556
บันด์การ์เดน (Bund Garden) ปอดแห่งหนึ่งของคนปูเณ่
ปูเณ่ได้ชื่อว่าเป็นเมืองที่มากด้วยมลพิษพอสมควร เพราะความหนาแน่นของทั้งประชากรและรถรา ยังดีที่มีพื้นที่สีเขียวกระจายอยู่ตามจุดต่างๆ บ้าง สำหรับ บันด์การ์เดน (Bund Garden) หรือรู้จักกันในอีกชื่อว่า อุทยานมหาตมะคานธี (Mahatma Gandhi Udhayan) ก็เป็นพื้นที่สีเขียวอีกแห่งหนึ่งที่มีชื่อเสียงในใจกลางเมืองปูเณ่ ตั้งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำ Mula-Mutha อยู่ใกล้กับห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล และไม่ไกลจากโกเรกอนพาร์คที่เป็นศูนย์รวมของชาวต่างชาติ ที่เพิ่งมีข่าวเกี่ยวกับระเบิดเมื่อไม่นานมานี้ด้วย
วันศุกร์ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2556
ป้ายกำกับ:
ความรู้ทั่วไป,
ภาษาในอินเดีย,
ภาษาฮินดี,
เรียนภาษาฮินดี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)